จุดอ่อนแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด ที่แก้ไม่หาย

จุดอ่อนแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด ที่ยังแก้ไม่หายในการเสียประตูและการทำประตูที่ไม่เฉียบคมพอ ดูภาพรวมของทีมแล้วอยู่สถานการณ์ที่ไม่สู้ดีนักอย่างอยู่ต่ำมาตรฐาน ตอนนี้ยูไนเต็ดผ่านไป 3 ฤดูกาลโดยไม่มีถ้วยรางวัลเป็นครั้งแรกในรอบกว่า 30 ปี 

ในขณะที่ยูไนเต็ดปล่อยให้ความเจ็บปวดจากความพ่ายแพ้จมอยู่ในความเสียใจหลายอย่าง แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด เอาชนะด้วยความยากลำบาก ก็ปรากฏขึ้นเกี่ยวกับจุดอ่อนของพวกเขาและจะต้องแก้ไขอย่างไร

เห็นได้ว่าโชลชาต้องการฝีเท้าที่ดีกว่านี้เพิ่มเข้ามาในทีมจึงปฏิเสธไม่ได้ว่าการที่จะชื้อ Jadon Sancho ของ Borussia Dortmund ต้องการมาเสริมทัพภายในทีม เพราะการจบสกอร์อย่างพลาดและเสียดอกาสในการทำประตูเป็นอย่างมาก การขาดความโหดเหี้ยมของยูไนเต็ดทำให้พวกเขาเสี่ยงต่อการพ่ายแพ้

* * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * *

จุดอ่อนแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด ที่ผิดพลาดทำให้ตกรอบรอง

จุดอ่อนแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด ที่ยังแก้ไม่หายในการเสียประตูและการทำประตูที่ไม่เฉียบคมพอ ดูภาพรวมของทีมแล้วอยู่สถานการณ์ที่ไม่สู้ดีนัก

* * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * *

และความผิดพลาดของกองหลังที่ผิดพลาดบ่อยเป็นเรื่องปกติไปแล้ว สิ่งที่ Victor Lindelof และ Aaron Wan-Bissaka กำลังทำคือการดูบอลและโดยทั่วไปแล้วการปล่อยให้ De Jong วิ่งเข้ามาทำประตูได้ง่ายเกินไปมีเพียงพวกเขาเท่านั้นที่ต้องรับผิดชอบในการประกบตัวทำให้  Luuk de Jong ทำประตูไปได้

ในเกมค่ำคืนที่ผ่านมายังมีข้อผิดพลาดของ Solskjaer กุนชือยูไนเต็ดที่ตัดสินผิดพลาดอย่างมากที่ไม่เปลี่ยนตัวและรูปแบบแผนใหม่ Solskjaer ควรจะทำก่อนหน้านี้ Juan Mata, Daniel James และ Timothy Fosu-Mensahและ Odion Ighalo

ที่พร้อมจะเล่นแทนที่ตัวจริงที่เล่นไม่ได้มาตรฐาน เช่น มาคาร์ส แลชฟอร์ด ที่เล่นได้แย่เลี้ยงผ่านกองหลังไม่ได้เสียเลย เสียบอลอยู่เนืองๆ ทำให้เกิดการวิพากวิจารของแฟนๆบอลที่ชัดเจนในตัวกุนชือของยูไนเต็ดคนนี้

ผู้จัดการทีม Solskjaer และทีมแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดของเขาล้มเหลวในสามนัดหลังสุด ที่ตกรอบชนะเลิศทั้งสามนัด หลังจากแพ้ในเกมคาราบาวคัพกับแมนเชสเตอร์และการชนะของเชลชีที่เวมลีย์ทำให้แมนยูฯตกรอบไปในรอบชิง

บทความโดย ufa877

* * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * *